วันศุกร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559

วันคุ้มครองโลก Earth Day

วันคุ้มครองโลก (อังกฤษEarth Day) ตรงกับวันที่ 22 เมษายนของทุกปี ประกาศโดยโครงการสิ่งแวดล้อมสหประชาชาติ (United Nations Environment Program "UNEP") เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2513
ในประเทศไทยได้มีการจัดกิจกรรมวันคุ้มครองโลกเป็นประจำทุกปี โดยหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กรีนพีซ
นอกจากวันคุ้มครองโลก 22 เมษายนแล้ว ยังมีวันคุ้มครองโลกที่กำหนดขึ้นจากช่วงวิษุวัต (equinox) เช่นกัน วิษุวัตเป็นช่วงที่ในกลางวันและกลางคืนมีระยะเวลาเท่ากัน และเป็นการเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิในซีกโลกเหนือ และฤดูใบไม้ร่วงในซีกโลกใต้ โดยนับจากเหตุการณ์ธรรมชาติที่แกนขั้วโลกจะตั้งได้ฉากกับเส้นศูนย์สูตรมากที่สุด ในช่วงวันที่ 20-21 มีนาคมของทุกปี
วันคุ้มครองโลกนี้ เกย์ลอร์ด เนลสัน (Gaylord Nelson) สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ริเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ต่อมา สมาชิกวุฒิสภาเนลสันได้ตัดสินใจขอให้ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ยกเรื่องสิ่งแวดล้อมขึ้นเป็นวาระแห่งชาติ เคเนดีเห็นด้วยและได้ออกเดินสายทั่วประเทศ เป็นเวลา 5 วัน 11 รัฐ ในช่วงเดือนกันยายนพ.ศ. 2506 (ก่อนที่ประธานาธิบดีเคเนดีจะถูกลอบยิงเสียชีวิต) การเดินสายครั้งนั้นนับเป็นจุดเริ่มต้นของการริเริ่มวันคุ้มครองโลก จนในปี พ.ศ. 2512 สมาชิกวุฒิสภาเนลสันได้ผลักดันให้มีการจัดการชุมนุมประชาชนระดับรากหญ้าทั่วประเทศขึ้น เพื่อให้แสดงความคิดเห็นในปัญหาสิ่งแวดล้อม และได้เชิญชวนให้ทุก ๆ คนร่วมการชุมนุมเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดกระแสความห่วงใยในวิกฤตสิ่งแวดล้อมที่เป็นอยู่ของสังคมอเมริกันในขณะนั้น นำสู่ความสำเร็จของการก่อตั้งวันคุ้มครองโลกขึ้นต่อมา

วันศุกร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2559

Animals

แนะนำแอพพลิเคชั่นดีๆสำหรับฝึกภาษาฝรั่งเศส

Perfect for tourists or beginners, this app teaches you 800 of the most common and useful words and phrases. A French-speaking parrot helps you train spelling and authentic pronunciation - you can record your voice to see if you're getting it right, and the words are sorted into topics so you can choose those most relevant to you.
User Janet Perez wrote: “Simple and helpful. It is easy to use it, it teaches you the basic greetings and words, the pronunciation and it doesn't have annoying commercials."
The app's creators promise that learning French is "easier than you think", and its 50 million users worldwide seem to agree, judging by its positive reviews. It's aimed at those who want to develop a comprehensive understanding of French, with vocabulary and grammar units, audio dialogues and language games - you can even send exercises to a native speaker for feedback.
“Awesome! I studied French as a subject but I found this app worth a dozen books,” user Waqar Rizvi said in a Play Store critique.
As this app’s name suggests, this app is a vocabulary builder, teaching you the 6,000 most common words in French, so it's suited to anyone aiming at comprehension (of menus and signs, for example) rather than conversation. The words are organized in 15 themes with illustrations, phonetic transcriptions and recordings of native pronunciation, and you can test your knowledge using one of the seven language games. Students can also set the difficulty of the the app according to their level: beginner, intermediate or advanced.
“Great vocabulary builder. Wide selection of vocabulary, also builds spelling skills. Graphics for words are helpful (and funny)” user Amanda McQ commented in the Google Play site.
If you're already familiar with the basic phrases but want to brush up on your grammar, this handy app is a must. You can look up 9,000 French verbs to find out how to conjugate them in any tense, helping you avoid errors even when you're dealing with the tricky irregulars or one of the less common tenses.
One of the most comprehensive and best-rated language-learning apps out there, Duolingo's makers claim 34 hours on the app "are equivalent to a semester of university-level education". Grammar, vocab and phrases are organized into different topics which you work through in small, bite-sized lessons. It evolves as you go so that you'll be tested on the topics you struggle with most. The only downside is that you can't pick and choose specific topics to learn, but have to unlock them in the correct order.
“Amazing! Duolingo is really easy and fun and really does a great job of teaching the language you have chosen!! Its cool that you get 'gems' when you finish a topic and can spend it in the store to get icons or clothes for the Duolingo bird!” writes user Hannah Bottomley.

sea foods,les fruits de mer,อาหารทะเล part.1

สวัสดีเดือนเมษายน ^ ^  หน้าร้อน อากาศร้อนๆแบบนี้ก็ต้องคู่กับทะเล ส่วนทะเลก็คู่กับอาหารทะเล เรามารู้จักคำศัพท์ของอาหารทะเลกกันเลย... 


  • les fruits de mer เล ฟรุย เดอ แมร์ = อาหารทะเล
  • les coquilles saint-Jacques (nf เล โกกีย แซ้ง ชัค) หอยเชลล์ 
  • le homard (เลอ โอมาร์) ล็อบสเตอร์
  • la crabe (ลา คร้าบเบอะ) ปู
  • la crevette (ลา เครอแวต) กุ้ง
  • les huîtres (nf เล สวิ้ตเทรอะ) หอยนางรม
  • les moules (nf เล มูล - เพศหญิง ถ้าเป็นเพศชาย un moule จะแปลว่าแม่พิมพ์) หอยแมงภู่
  • le calmar/calamar (เลอ กัลมาร์ /กัลละมาร์) ปลาหมึก

วันพฤหัสบดีที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2559

คำศัพท์เกี่ยวกับโทรทัศน์

  • une télévision/ télé (อูน เตเลวิซิยง/เตเล) โทรทัศน์ 
  • une emission (อูน เนมิสซิยง) รายการทีวี
  • diffuser/transmettre [en direct] (ดิฟฟุซเซ่/ทร็องสแมตเทรอะ อ็อง ดิแรค) ออกอากาศ [สด]
  • les actualités/les informations (เล ซัคตูอาลิเต้/เล แซงฟอรมาซิยง) รายงานข่าว
  • une causerie(อูน โกสเซอรี) ทอล์คโชว์


วันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2559



C'EST 


OU 




ประวัติความเป็นมา 
 ประเทศฝรั่งเศส ในยุคศตวรรษที่ 16 ตอนนั้นชาวฝรั่งเศสมีวันปีใหม่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน กระทั่งมาถึง ค.ศ.1582 สันตะปาปาเกรกอรีที่ 13 จึงกำหนดให้ชาวคริสต์ทั่วโลกฉลองวันปีใหม่พร้อมกันวันที่ 1 มกราคม คราวนี้สมัยก่อน ข่าวสารไม่ได้กระจายรวดเร็วเหมือนสมัยนี้ คนบ้านนอกของฝรั่งเศสบางกลุ่มยังไม่รู้ แถมบางคนได้ยินแล้วก็ยังไม่เชื่อ เลยฉลองวันปีใหม่กันวันที่ 1 เมษายน เหมือนเดิม ทำให้พวกไม่ตกยุคเย้ยหยันพวกตกยุคว่า “หน้าโง่” แถมยังพยายามจะแกล้งหลอกคนกลุ่มนี้เพื่อความสนุกสนานอีกด้วย
     ย้อนหลังกลับไปในศตวรรษที่ 16 ประเทศฝรั่งเศสถือว่าวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ ผู้คนจะพากันเฉลิมฉลอง จัดงานเลี้ยง และล้อมวงเต้นรำกันอย่างครึกครื้นจนถึงค่ำ
     แต่มาในปี ค.ศ. 1582 พระสันตปาปาเกรเกอรี่ได้ประกาศใช้ปฏิทินใหม่สำหรับชาวคริสต์ ทำให้วันปีใหม่ถูกเปลี่ยนแปลงจากเดิมไปเป็นวันที่ 1 เดือนมกราคม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัญหาด้านการสื่อสารที่ล่าช้าในยุคนั้น ยังคงมีประชาชนบางส่วนที่ไม่รู้ หรือรู้แต่ไม่เชื่อเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว พวกเขายังจัดงานฉลองวันปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายนตามเดิม ทำให้คนอื่นๆ พากันเรียกพวกเขาว่า " พวกเมษาหน้าโง่" (April Fools) แล้วพยายามกลั่นแกล้งคนพวกนี้โดยส่งข้อความไปหลอก หรือล่อลวงให้หลงเชื่อเรื่องโกหกทั้งหลายว่าเป็นเรื่องจริง
     ในปัจจุบัน วันที่ 1 เมษายนจะถูกเรียกว่า "poisson d'Avril" พวกเด็กๆ จะแกล้งเพื่อนๆ ด้วยการเอากระดาษรูปปลาไปแปะไว้ข้างหลัง เมื่อฝ่ายที่ถูกแกล้งรู้ตัว คนแกล้งจะตะโกนว่า "poisson d'Avril!" (April Fish!) ซึ่งเป็นคำที่คนฝรั่งเศษใช้เรียกคนที่ถูกหลอก หรือถูกแกล้งในวันที่ 1 เมษายน
     เช่นเดียวกัน ชาวอเมริกันก็นิยมหยอกล้อเพื่อนฝูง หรือคนแปลกหน้าในวันดังกล่าว ซึ่งการโกหกที่เป็นสากลที่สุดในวันนี้ คือการชี้ไปที่รองเท้าของเพื่อน และพูดออกมาว่า "เชือกรองเท้าของเธอหลุดแน่ะ" นอกจากนี้ ถ้าย้อนกลับไปในศตวรรษที่ 19 พวกอาจารย์จะแกล้งบอกกับลูกศิษย์ของเขาว่า "ดูโน่นสิ! ฝูงห่าน" แล้วชี้นิ้วขึ้นไปบนฟ้า ส่วนในโรงเรียนต่างๆ กลุ่มนักเรียนจะหลอกเพื่อนคนอื่นว่าโรงเรียนงดการเรียนการสอนในวันนั้น ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการโกหกแบบไหน เมื่อไหร่ที่เหยื่อตกหลุมพรางตามแผนที่คนแกล้งวางเอาไว้แล้ว คนแกล้งจะตะโกนออกมาว่า "April Fool!"
     อีกหนึ่งกลอุบายในการกลั่นแกล้งที่แทบจะกลายเป็นธรมเนียมปฏิบัติ คือการเทเกลือลงในโถใส่น้ำตาลเพื่อแกล้งคนที่นั่งข้างๆ แน่นอนว่าวิธีนี้คงไม่ดีแน่ถ้าจะเล่นกับคนแปลกหน้า แต่สำหรับนักเรียนหอ พวกเขามักจะมีกลเม็ดเด็ดๆ ที่จะทำให้แกล้งฝ่ายตรงข้ามได้อย่างแนบเนียน แถมได้ผลอยู่เสมอ นั่นก็คือการหมุนเข็มนาฬิกาของตัวเองให้เดินช้า 1 ชั่วโมง เพื่อหลอกรูมเมทให้มาเข้าชั้นเรียนผิดเวลา
     หัวใจของการโกหกในวัน April Fool's Day คือความตลก โดยเรื่องที่โกหกต้องอยู่บนพื้นฐานที่ว่า ไม่ทำอันตรายให้คนอื่น ไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อน ไม่เกี่ยวกับความเป็นความตาย เพราะฉะนั้น กลอุบายที่ยอดเยี่ยมที่สุดจะต้องทำให้ทุกคนหัวเราะได้ โดยเฉพาะคนที่ตกเป็นเหยื่อ